วันพฤหัสบดีที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2558

บทที่ 5 การสืบพันธุ์และกาเจริญเติบโตของสัตว์

บทที่ 5 การสืบพันธุ์และกาเจริญเติบโตของสัตว์

        การสืบพันธุ์ (Reproduction) หมายถึง กระบวนการที่ทำให้เกิดสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ขึ้นมาจากสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน โดยที่สิ่งมีชีวิตรุ่นใหม่ที่เกิดขึ้นจะทดแทนสิ่งมีชีวิตรุ่นเก่าที่ตายไป ทำให้สิ่งมีชีวิตเหลือรอดอยู่ได้โดยไม่สูญพันธุ์ การสืบพันธุ์มี 2 วิธี คือการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ และการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ อ่านเพิ่ม



บทที่ 4 อาหารและการย่อยอาหาร

บทที่ 4 อาหารและการย่อยอาหาร


         ความต้องการอาหารและการได้มาซึ่งอาหารของโพรทิสต์ พืชและ สัตว์จะแตกต่งกัน พืชและโพรทิสต์บางชนิดสามารถสังเคราะห์หรือสร้างอาหารได้เอง แต่สัตว์และโพรทิสต์อีกบางชนิดไม่สามารถสร้างอาหารได้ สิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารได้เองเรียกว่า ออโตทรอพ (autotroph)อ่านเพิ่ม


บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต

บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต


       สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แตกต่างกันทั้งรูปร่างและรูปร่าง   แต่ที่สำคัญคือเซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีส่วนประกอบที่สำคัญ 3 ส่วนที่เหมือนกัน ได้แก่ นิวเคลียส ไซโทพลาซึม และเยื่อหุ้มเซลล์  อ่านเพิ่ม



บทที่2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต

บทที่2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต


         สิ่งมีชีวิตในโลกมีรูปร่างและโครงสร้างแตกต่างกันมากมาย เช่น พืช สัตว์ ทำให้เราสามารถแยกสิ่งมีชีวิตเป็นชนิดต่างๆ ได้ แต่ว่าถึงแม้จะแตกต่างกัน สิ่งมีชีวิตเหล่านั้นก็ล้วนประกอบขึ้นด้วยหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดเรียกว่า เซลล์ ภายในเซลล์ทุกชนิดมีโครงสร้าง ที่ประกอบด้วยโมเลกุลของสารเคมีหลายชนิด โมเลกุลของสารเหล่านี้เกิดจากโครสร้างพื้นฐานที่เล็กที่สุด คืออะตอมธาตุที่พบมากได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน  ออกซิเจน  ซึ่งมีการรวมกันเป็นโมเลกุล โมเลกุลบางชนิดมีขนาดใหญ่มาก เช่น โปรตีน ลิพิด คาร์โบไฮเดรตและกรดนิวคลีอิก เป็นต้น ประกอบกันเป็นโครงสร้างที่ทำหน้าที่ต่างกัน อ่านเพิ่ม




บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต

บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต

                ชีววิทยา คือ การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต รากศัพท์ของคำนี้มาจากภาษากรีก คือ ไบออส (bios) ซึ่งหมายถึงสิ่งมีชีวิต และโลกอส (logos) ที่หมายถึง ความคิดและเหตุผลการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตสามารถศึกษาได้หลายระดับ ตั้งแต่ระดับใหญ่ เช่น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประชากรสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม การศึกษาความสัมพันธ์์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกลุ่มต่างๆ การศึกษาลักษณะรูปร่าง การดำรงชีวิตและการจัดจำแนกสิ่งมีชีวิต สำหรับการศึกษาในระดับย่อยลงมา เช่น การศึกษาองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต ได้แก่ อวัยวะ เนื้อเยื่อ และเซลล์ ในด้านโครงสร้างและหน้าที่การทำงาน อ่านเพิ่ม